ปัญหา การหลอกลวงยุคดิจิทัล ทวีความรุนแรงและถี่มากขึ้นทั่วโลกและคนไทยโดน แก๊งคอลเซ็นเตอร์ หลอกกว่า 6.4 ล้านครั้ง เพิ่มขึ้นจากปี 2563 ถึง 270% พบว่า ถูกใช้ Facebook เป็นช่องทางโกง หลอกลวงออนไลน์ มากที่สุด ประชาชนจี้ ภาครัฐต้องเร่งตามกลโกงรับมือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สรุปภาพรวมจาก สศช. ร่วมกับบริษัทศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและธุรกิจ จากัด จึงได้ศึกษาและสารวจเกี่ยวกับการหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ตและการสื่อสารสมัยใหม่ ระหว่างเดือนมกราคม ถึง มีนาคม 2565 ในประชากรอายุ ระหว่าง 17-77 ปี จานวน 5,798 ตัวอย่าง 20 จังหวัด ทั่วประเทศ และสัมภาษณ์เชิงลึก 3 กลุ่ม คือ
พบว่า จากกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 97.8 ใช้โทรศัพท์มือถือ และร้อยละ 81.5 ใช้งานอินเทอร์เน็ต สะท้อนว่าคนไทยเกือบทั้งประเทศสามารถเข้าถึงโทรศัพท์และอินเทอร์เน็ตอย่างกว้างขวาง ทุกเพศ ทุกวัย
อ้างอิงจากรายงาน สภาพปัญหา การหลอกลวงยุคดิจิทัล และแนวทางแก้ไขรายงานของ Whoscall แอปพลิเคชันป้องกันการฉ้อโกงเปิดเผยว่าในปี 2564 พบว่า การหลอกลวงผ่านการสื่อสารสมัยใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและมีรูปแบบที่มีความซับซ้อนและหลากหลายมากขึ้ด้วย โดยพบว่า พฤติกรรม ทักษะการใช้เทคโนโลยีสื่อสมัยใหม่ และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เป็นปัจจัยสาคัญต่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการตกเป็นเหยื่อ จึงจำเป็นต้องมีการสร้างภูมิคุ้มกันในการใช้ชีวิตยุคดิจิทัลให้กับประชาชน ตลอดจน การเพิ่มขีดความสามารถของหน่วยงานภาครัฐในการรับมือกับปัญหาการ หลอกลวงออนไลน์ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
ยูทูปเบอร์แก้เผ็ด “แก๊งคอลเซ็นเตอร์ อินเดีย” ส่งก๊าซไข่เน่า-แมลงสาบ ไปป่วน
กสทช. ออกมาตรการ SCAM Alert รวมตัวอย่างการฉัอโกง จัดการแก๊ง Call Center
dtac ดีแทคห่วงใยเตือนระวังภัยมิจฉาชีพหลอกขอ OTP ย้ำ ห้ามให้เด็ดขาด!
สถานการณ์การหลอกลวง ทางโทรศัพท์และ SMS
Generation ที่โดนหลอกลวงมากที่สุด ได้แก่
แบบสำรวจจากกลุ่มตัวอย่างพบว่า
ข้อจำกัดในการรับมือ
Facebook และมือถือเป็น 2 ช่องทางสาคัญของการหลอกลวงยุคดิจิทัล โดย Facebook เป็นช่องทางการก่อเหตุหลอกลวงมากที่สุด โดยอยู่ใน 4 กลุ่มใหญ่
ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ปัญหา
ปัจจุบันสำนักงาน กสทช. มีการดำเนินการแก้ปัญหาการหลอกลวงยุคดิจิทัลทั้งหมด 4 ข้อ คือ
ที่มา
กองพัฒนาข้อมูลและตัวชี้วัดสังคม (กขส.)