โดนแฮ็กเงินเกลี้ยงบัญชีธนาคารก็ว่าหนักแล้ว เงินดิจิทัลที่ต้องเข้ารหัสยังโดนแฮ็กล็อตใหญ่เป็นระยะ นั่นหมายความว่า ก็ชวนให้คิดว่า ระบบหละหลวมหรืออาชญากรไซเบอร์เก่งขึ้น แต่ไม่ว่าจะเป็นแบบไหน ก็ต้องรู้วิธีป้องกัน แนวทางเพื่อรับมือ ไม่งั้นอาจจะเสียทั้งเงินทั้งชื่อ
2021 ถือเป็นปีอันโหดหินสำหรับองค์กรธุรกิจในประเทศต่างๆ ทั่วโลก เพราะนอกจากโควิด-19 ระลอกแล้ว...ระลอกเล่า หลายบริษัทยังถูกมัลแวร์เรียกค่าไถ่โจมตีอย่างหนัก ส่วนคนตัวเล็กตัวน้อยก็เจอ กลโกงออนไลน์ จนละเหี่ยใจ
กลโกงออนไลน์ ทำชีวิตหน่วงหนัก ธุรกิจหนักหน่วง
ถ้าดูเฉพาะมัลแวร์เรียกค่าไถ่ มีข้อมูลใน รายงานภัยคุกคามจากมัลแวร์เรียกค่าไถ่ของ Unit 42 ระบุว่า ค่าไถ่โดยเฉลี่ยที่แต่ละองค์กรต้องจ่ายในช่วงครึ่งแรกของปี 2021 อยู่ที่ราว 570,000 ดอลลาร์ หรือประมาณ 18.8 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึง 82%
นี่เป็นเพียงตัวเลขความเสียหายที่เกิดขึ้นส่วนเสี้ยวเดียวของสารพัดภัยไซเบอร์!
รวบตึงพร้อมเตือนภัย 5 กลโกงออนไลน์ ที่คาดว่าจะได้เจอในปี 2022
1. บิตคอยน์เรียกแขก มูลค่ายิ่งเพิ่ม อาชญากรไซเบอร์ยิ่งฉวยโอกาสจากความมั่งคั่งนี้
มูลค่าที่สูงขึ้นของ คริปโตเคอร์เรนซี หรือ เงินตราเข้ารหัสลับ และการไม่สามารถติดตามตัวโจรไซเบอร์ได้ กระตุ้นให้เหล่ามัลแวร์เรียกค่าไถ่มากขึ้น ก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์เพิ่มขึ้น
ประเด็นนี้ส่งผลให้อาชญากรไซเบอร์มีเงินทุนและทรัพยากรมากขึ้น จึงโจมตีโครงสร้างระบบที่สำคัญในระดับที่ใหญ่ขึ้นได้ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงเป็นความเสียหายทางการเงินในภาคธุรกิจ ซึ่งทำลายระบบบริการแก่สาธารณชนในวงกว้างไปด้วย
มีแนวโน้มว่า อาชญากรไซเบอร์จะแสวงหาประโยชน์จากข้อมูลในระดับที่สูงขึ้น ด้วยการโจมตีในลักษณะที่เรียกว่า มัลแวร์สร้างความอับอาย (shameware) แล้วเรียกค่าไถ่แบบสองต่อ หมายถึง เป้าหมายรายใดที่ไม่ยอมจ่ายค่าไถ่ตามที่ต้องการ โจรไซเบอร์ก็จะทำให้เป้าหมายรายนั้นๆ เสื่อมเสียชื่อเสียง
นอกจากนี้ยังมีเคสที่กำลังเพิ่มขึ้นอย่างมาก นั่นคือ การกรรโชกแบบสี่ต่อ ซึ่งก็คือ อาชญากรไซเบอร์ใช้หลายวิธีเพื่อกดดันเหยื่อให้ยอมจ่ายเงินค่าไถ่จำนวนมาก
เริ่มจากการปรับปรุ
นับวัน การโจมตีทางไซเบอร์ก็ยิ่งมี
อีกเรื่องที่ต้องทำและสำคัญอย่างยิ่งคือ ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิ
2. เส้นแบ่งระหว่างโลกจริงกับโลกดิจิทัลจะบางลงเรื่อยๆ แฮกเกอร์จะมีพื้นที่เป้าหมายให้เลือกมากยิ่งขึ้น บุคคลหรือสิ่งที่เราไว้ใจอาจไม่ปลอดภัย ไม่น่าไว้ใจอีกต่อไป
อุปกรณ์ IoT ที่ในชีวิตประจำวั
ในรายงานความปลอดภัยด้าน IoT ประจำปี 2021 ของพาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ ระบุว่า ที่ฮ่องกง มีการแยกส่วนอุปกรณ์ IoT เอาไว้ในเครือข่ายแยก 41% และราว 51% ใช้วิธีแยกย่อยที่เรียกว่า ไมโครเซกเมนเทชัน (micro-segmentation) เพื่อแบ่งประเภททราฟฟิก ซึ่งถือเป็นแนวทางที่ดีที่สุ
ลักษณะของเครือข่ายที่
3. เราจะใช้บริการดิจิทัลมากขึ้น เศรษฐกิจต้องพึ่งพา API เพิ่มขึ้น อาชญากรไซเบอร์จ้องจะเข้ามาขโมยตัวตน ขโมยข้อมูลไปใช้ ไปหลอกลวง ฉ้อโกง หรือหาประโยชน์โดยไม่ได้รับอนุญาต
ที่เราใช้ระบบ e-Payment ผ่านธนาคารดิจิทัล ช่วยเกิดความสะดวกสบายก็จริง แต่ขณะเดียวกันก็มาพร้อมความเสี่ยง โดยเฉพาะการเติบโตของธนาคารระบบเปิดและฟินเทคในภูมิภาค หากนักพัฒนาโปรแกรมเขียนโปรแกรมไม่รอบคอบ เช่น กำหนดค่าความปลอดภัยใน API ผิดพลาด อาจส่งผลต่อเนื่องร้ายแรง
เพราะส่วนนี้เชื่อมโยงแอปกับซอฟต์แวร์ดิจิทัลจำนวนมากเข้าด้วยกัน อาชญากรไซเบอร์อาจเจาะเข้าระบบเพื่อดูข้อมูลส่
สถาบันการเงินสามารถสร้างความมั่
ในฟากการทำงานหลังบ้านก็เช่นกัน สถาบันการเงินต้องบู
ข้อมูล คือสิ่งที่มีมูลค่าอย่างมากต่อผู้
โจมตีทางไซเบอร์ เพราะไม่เพียงแค่นำไปขายในตลาดมืดได้ ยังสามารถนำไปใช้เพื่อโจมตี ด้วยวิธีฟิชชิงแบบระบุเป้าหมาย (spear-phishing) รวมทั้งการโจมตีเพื่อเข้าควบคุมบัญชีผู้ ใช้ หรือลักลอบเข้าระบบอีเมลของบริษัทได้
4. เป้าหมายที่จะโดนโจมตีมากกว่าใคร คือ โครงสร้างระบบดิจิทัลที่มีความสำคัญของประเทศ ผู้เกี่ยวข้องเตรียมรับมือภัยไซเบอร์อันหนักหน่วงได้เลย
ตัวอย่างเหตุการณ์ที่ผ่านมา - การโจมตีทางไซเบอร์จนตลาดหุ้นของนิวซีแลนด์ต้
การโจมตีทางไซเบอร์ไม่มีทีท่าว่าจะลดลง และรูปการณ์น่าจะเลวร้ายยิ่งกว่าเดิม ในอนาคตอันใกล้ รัฐบาลหลายแห่งอาจคาดหวังให้บริษัทไอซีทีที่ดูแลโครงสร้างระบบสำคัญๆ ต้องใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยบนซัพพลายเชนที่ดีที่สุด
เพื่อป้องกันหรือรับมืออาชญากรไซเบอร์ที่พุ่งเป้าไปยั
ในรายงานดังกล่าวยังเปิดเผยแง่มุมที่เชื่อว่า ปัจจุบันมีผู้โจมตี
5. "การทำงานจากที่ไหนก็ได้" จะทำให้ผู้คนหันมาใช้โซลูชันที่ไร้พรมแดน ขณะเดียวกัน องค์กรก็จะมีแนวคิด "ไม่วางใจทุกคน" การสื่อสารแบบดิจิทัลจึงอาจถูกตรวจสอบทุกขั้นตอน
ยิ่งมีพนักงานที่ต้องทำงานที่บ้
การทำงานจากทางไกล กลายเป็นกลยุ
ขณะเดียวกัน แนวคิด ไม่วางใจทุกคน (Zero Trust) จะเข้ามามีบทบาทสำคัญในการทำงานยุคดิ