สรุปสูตรสำหรับวัคซีนไขว้ ที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบันสำหรับกลุ่มต่างๆ มาดูกันว่าใช้สูตรไหนบ้าง แล้วภูมิคุ้มกันต่อเชื้อเดลต้า เป็นอย่างไร?
ผลภูมิคุ้มกันหลังฉีดวัคซีนสูตรไขว้
นพ.เฉวตสรร นามวาท ผอ.กองควบคุมโรคฯ
เปิดเผย ผลการฉีดวัคซีนไขว้ ให้เห็นถึงระดับภูมิคุ้มกัน ต่อเชื้อโควิดสายพันธุ์เดลต้า
• วัคซีนซิโนแวค+ วัคซีนซิโนแวค มีระดับภูมิคุ้มกัน 24.31
• วัคซีนแอสตร้าฯ + วัคซีนซิโนแวค มีระดับภูมิคุ้มกัน 25.83
• วัคซีนซิโนแวค+ วันซีนซิโนแวค + วัคซีนซิโนฟาร์ม มีระดับภูมิคุ้มกัน 61.26
• วัคซีนแอสตร้าฯ + วัคซีนแอสตร้าฯ มีระดับภูมิคุ้มกัน 76.52
• วัคซีนซิโนแวค + วัคซีนแอสตร้าฯ มีระดับภูมิคุ้มกัน 78.65
• วัคซีนซิโนแวค+ วัคซีนซิโนแวค + วัคซีนแอสตร้าฯ มีระดับภูมิคุ้มกัน 271.17 (สูงที่สุด)
ข่าวที่เกี่ยวข้อง :
สธ.ใช้สูตรวัคซีนไขว้ “ซิโนแวค-แอสตร้าฯ” เป็นสูตรหลักฉีดทั่วประเทศ
สูตรการใช้วัคซีนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มผู้สูงอายุ / กลุ่ม 7 โรคเรื้อรัง / กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ใช้วัคซีน 2 สูตร
1. Sinovac + AstraZeneca (ห่าง 3 สัปดาห์)
2. AstraZeneca 2 เข็ม (ห่าง 12 สัปดาห์) **บางกรณี**
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
1. Pfizer 2 เข็ม (ห่าง 3 สัปดาห์)
1. หาก SV หรือ SP ครบ 2 เข็ม + Pf หรือ Aztra 1 เข็ม
2. หาก SV / SP / Astra 1 เข็ม + Pfizer เข็มที่ 2
3. ให้ SV เข็มที่ 1 + Astra เข็มที่ 2 (ห่าง 3 สัปดาห์)
4. ให้ PfiZer 2 เข็ม (ห่าง 3 สัปดาห์)
5. ให้ Astra 2 เข็ม (ห่าง 12 สัปดาห์)